Rethink Your Routine, Relieve the Reefs
Get to Know ReReef
Making Waves
View all-
โลกที่(เต่า)ผู้ชายกำลังจะสูญพันธุ์
งานวิจัยล่าสุดเปิดเผยว่าปรากฏการณ์โลกร้อนได้ทำให้ประชากรเต่าตนุ (Green sea turtle: Chelonia mydas) ใน Great Barrier Reef กลายเป็นตัวเมียเกือบทั้งหมด (99%) แล้ว นักวิทยาศาสตร์เป็นกังวลว่าสัดส่วนระหว่างเพศที่ผิดปกติเช่นนี้จะคุกคามประชากรเต่าทะเลในอนาคตอันใกล้ เต่าทะเลเป็นหนึ่งในสัตว์ที่อุณหภูมิเป็นตัวกำหนดเพศของตัวอ่อน ซึ่งสัดส่วนของเต่าตัวเมียจะสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิของชายหาดที่วางไข่สูงขึ้น งานวิจัยล่าสุดนี้เป็นความร่วมมือระหว่าง NOAA California State University และ WWF Australia ตีพิมพ์ในวารสาร Current Biology โดยได้ศึกษาประชากรเต่าที่มีลักษณะแตกต่างทางพันธุกรรมสองกลุ่มใน Great Barrier...
โลกที่(เต่า)ผู้ชายกำลังจะสูญพันธุ์
งานวิจัยล่าสุดเปิดเผยว่าปรากฏการณ์โลกร้อนได้ทำให้ประชากรเต่าตนุ (Green sea turtle: Chelonia mydas) ใน Great Barrier Reef กลายเป็นตัวเมียเกือบทั้งหมด (99%) แล้ว นักวิทยาศาสตร์เป็นกังวลว่าสัดส่วนระหว่างเพศที่ผิดปกติเช่นนี้จะคุกคามประชากรเต่าทะเลในอนาคตอันใกล้ เต่าทะเลเป็นหนึ่งในสัตว์ที่อุณหภูมิเป็นตัวกำหนดเพศของตัวอ่อน ซึ่งสัดส่วนของเต่าตัวเมียจะสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิของชายหาดที่วางไข่สูงขึ้น งานวิจัยล่าสุดนี้เป็นความร่วมมือระหว่าง NOAA California State University และ WWF Australia ตีพิมพ์ในวารสาร Current Biology โดยได้ศึกษาประชากรเต่าที่มีลักษณะแตกต่างทางพันธุกรรมสองกลุ่มใน Great Barrier...
-
9 เหตุผลทำไมเราควรเลิกใช้พลาสติกแบบใช้แล้วทิ้ง
สสารไม่เคยหายไปไหนเป็นคำกล่าวที่เหมาะสมที่สุดในกรณีของพลาสติก เพราะตั้งแต่เริ่มมีการผลิตพลาสติกออกมาใช้ราว 60 ปีที่แล้ว พลาสติก 6.3 พันล้านตันไม่เคยหายไปไหนจริงๆ และมีการนำมารีไซเคิลไม่ถึง 10% หมายความว่า พลาสติกกว่า 5 พันล้านตันกลายเป็นขยะสะสมอยู่ในสภาพแวดล้อม จนกลายเป็นวิกฤติสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของยุคนี้ แน่นอนว่าพลาสติกมีประโยชน์มากมาย และกลายเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เพราะมีราคาถูก ทนทาน น้ำหนักเบา จนกลายเป็นวัสดุที่ใช้อย่างแพร่หลายที่สุดในโลก แต่พลาสติกประเภทหนึ่งกำลังเป็นปัญหามากที่สุด และมีความจำเป็นน้อยที่สุดเช่นกัน นั่นคือพลาสติกประเภทใช้แล้วทิ้ง หรือ Single-use Plastic พลาสติกเหล่านี้เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความสะดวกสบาย และไลฟ์สไตล์แบบใหม่ของมนุษย์ ทั้งๆ ที่ไม่ได้มีความจำเป็นแต่อย่างใด ลองนึกถึงถุงพลาสติก...
9 เหตุผลทำไมเราควรเลิกใช้พลาสติกแบบใช้แล้วทิ้ง
สสารไม่เคยหายไปไหนเป็นคำกล่าวที่เหมาะสมที่สุดในกรณีของพลาสติก เพราะตั้งแต่เริ่มมีการผลิตพลาสติกออกมาใช้ราว 60 ปีที่แล้ว พลาสติก 6.3 พันล้านตันไม่เคยหายไปไหนจริงๆ และมีการนำมารีไซเคิลไม่ถึง 10% หมายความว่า พลาสติกกว่า 5 พันล้านตันกลายเป็นขยะสะสมอยู่ในสภาพแวดล้อม จนกลายเป็นวิกฤติสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของยุคนี้ แน่นอนว่าพลาสติกมีประโยชน์มากมาย และกลายเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เพราะมีราคาถูก ทนทาน น้ำหนักเบา จนกลายเป็นวัสดุที่ใช้อย่างแพร่หลายที่สุดในโลก แต่พลาสติกประเภทหนึ่งกำลังเป็นปัญหามากที่สุด และมีความจำเป็นน้อยที่สุดเช่นกัน นั่นคือพลาสติกประเภทใช้แล้วทิ้ง หรือ Single-use Plastic พลาสติกเหล่านี้เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความสะดวกสบาย และไลฟ์สไตล์แบบใหม่ของมนุษย์ ทั้งๆ ที่ไม่ได้มีความจำเป็นแต่อย่างใด ลองนึกถึงถุงพลาสติก...
-
ขยะพลาสติกกำลังฆ่าปะการัง
ข่าวใหญ่ทั่วโลกวันนี้คืองานวิจัยที่เพิ่งตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ชื่อดัง Science ซึ่งพบว่าปะการังในเอเชีย-แปซิฟิก กำลังถูกคุกคามอย่างหนักจากขยะพลาสติกในทะเลกว่าหมื่นล้านชิ้น และมีส่วนสำคัญทำให้เกิดโรคในปะการังเพิ่มมากขึ้นถึง 20 เท่า นักวิทยาศาสตร์นำทีมโดย Joleah Lamb แห่งมหาวิทยาลัย Cornell และ James Cook University และคณะได้มีการเก็บข้อมูลปะการัง 159 แห่งในประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย และออสเตรเลีย โดยศึกษาสุขภาพของปะการังกว่า 124,000 โคโลนี พร้อมกับสำรวจการปรากฏของขยะพลาสติกที่มีขนาดใหญ่กว่า 0.5 เซนติเมตร ปะการังที่ไม่พบพลาสติกมีโอกาสเป็นโรคราว 4% ในขณะที่ในปะการังที่พบขยะพลาสติกมีโอกาสเป็นโรคสูงถึง 89%...
ขยะพลาสติกกำลังฆ่าปะการัง
ข่าวใหญ่ทั่วโลกวันนี้คืองานวิจัยที่เพิ่งตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ชื่อดัง Science ซึ่งพบว่าปะการังในเอเชีย-แปซิฟิก กำลังถูกคุกคามอย่างหนักจากขยะพลาสติกในทะเลกว่าหมื่นล้านชิ้น และมีส่วนสำคัญทำให้เกิดโรคในปะการังเพิ่มมากขึ้นถึง 20 เท่า นักวิทยาศาสตร์นำทีมโดย Joleah Lamb แห่งมหาวิทยาลัย Cornell และ James Cook University และคณะได้มีการเก็บข้อมูลปะการัง 159 แห่งในประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย และออสเตรเลีย โดยศึกษาสุขภาพของปะการังกว่า 124,000 โคโลนี พร้อมกับสำรวจการปรากฏของขยะพลาสติกที่มีขนาดใหญ่กว่า 0.5 เซนติเมตร ปะการังที่ไม่พบพลาสติกมีโอกาสเป็นโรคราว 4% ในขณะที่ในปะการังที่พบขยะพลาสติกมีโอกาสเป็นโรคสูงถึง 89%...
-
เปลี่ยนโลกด้วย Lifestyle กับ กรณิศ ตันอังสนากุล
"เราไม่สามารถเปลี่ยนโลกด้วยวิธีเดียวกับที่เราสร้างปัญหาขึ้นได้.. เราต้องเริ่มด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมของเราเอง ละความสะดวกสบายไปบ้าง แต่ก็ไม่ได้มากจนเกินไป และที่สำคัญคือเราต้องมีความตระหนักรู้ก่อน ว่าชีวิตประจำวันเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง เราต้องให้ความหวังกับตัวเอง และกับทุกคนว่าเราต้องเริ่มเปลี่ยนแล้ว ทันไม่ทันเราก็ทำเต็มที่ของเรา" กรณิศ ตันอังสนากุล เชื่อหรือไม่ว่า การใช้โทรศัพท์มือถือมีส่วนทำให้กอริลล่าเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และการแปรงฟันอาจทำให้ป่าถูกทำลาย? หลายปีที่ผ่านมา ปัญหาสิ่งแวดล้อมกลายเป็นหนึ่งในหัวข้อร้อนแรงระดับสากล เมื่อมนุษย์ใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศรอบตัวโดยปราศจากการตรึกตรอง โลกจึงส่งสัญญาณเตือนแก่ผู้อาศัยในรูปแบบมหันตภัยทางธรรมชาติ ทั้งภาวะโลกร้อน ฤดูกาลเปลี่ยนแปลง และการเสื่อมโทรมของทรัพยากร สร้างผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของสรรพชีวิตบนดาวเคราะห์สีน้ำเงินอย่างถ้วนทั่ว ภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ถูกจับตามองในฐานะต้นเหตุของปัญหา แต่กิจกรรมในชีวิตประจำวันของมนุษย์ก็ส่งเสริมการทำลายสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อมได้ไม่แพ้กัน มาวันนี้ การดูแลรักษาสมบัติจากธรรมชาติคือหน้าที่ของทุกคน การบ่มเพาะ ‘ไลฟ์สไตล์’ เพื่อโลกอันยั่งยืนจึงเป็นกุญแจสำคัญของการเปลี่ยนแปลง ไลฟ์สไตล์ในปัจจุบันของเราสร้างปัญหาอย่างไร...
เปลี่ยนโลกด้วย Lifestyle กับ กรณิศ ตันอังสนากุล
"เราไม่สามารถเปลี่ยนโลกด้วยวิธีเดียวกับที่เราสร้างปัญหาขึ้นได้.. เราต้องเริ่มด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมของเราเอง ละความสะดวกสบายไปบ้าง แต่ก็ไม่ได้มากจนเกินไป และที่สำคัญคือเราต้องมีความตระหนักรู้ก่อน ว่าชีวิตประจำวันเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง เราต้องให้ความหวังกับตัวเอง และกับทุกคนว่าเราต้องเริ่มเปลี่ยนแล้ว ทันไม่ทันเราก็ทำเต็มที่ของเรา" กรณิศ ตันอังสนากุล เชื่อหรือไม่ว่า การใช้โทรศัพท์มือถือมีส่วนทำให้กอริลล่าเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และการแปรงฟันอาจทำให้ป่าถูกทำลาย? หลายปีที่ผ่านมา ปัญหาสิ่งแวดล้อมกลายเป็นหนึ่งในหัวข้อร้อนแรงระดับสากล เมื่อมนุษย์ใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศรอบตัวโดยปราศจากการตรึกตรอง โลกจึงส่งสัญญาณเตือนแก่ผู้อาศัยในรูปแบบมหันตภัยทางธรรมชาติ ทั้งภาวะโลกร้อน ฤดูกาลเปลี่ยนแปลง และการเสื่อมโทรมของทรัพยากร สร้างผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของสรรพชีวิตบนดาวเคราะห์สีน้ำเงินอย่างถ้วนทั่ว ภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ถูกจับตามองในฐานะต้นเหตุของปัญหา แต่กิจกรรมในชีวิตประจำวันของมนุษย์ก็ส่งเสริมการทำลายสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อมได้ไม่แพ้กัน มาวันนี้ การดูแลรักษาสมบัติจากธรรมชาติคือหน้าที่ของทุกคน การบ่มเพาะ ‘ไลฟ์สไตล์’ เพื่อโลกอันยั่งยืนจึงเป็นกุญแจสำคัญของการเปลี่ยนแปลง ไลฟ์สไตล์ในปัจจุบันของเราสร้างปัญหาอย่างไร...